วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

วงจรป้องกันลำโพง

fk650s.gif
วงจรป้องกันลำโพง เป็นวงจรที่นำไปต่อกับเครื่องขยาย เสียงระบบ
OCL ถ้าเครื่องขยายที่ไม่มีวงจรป้องกันลำโพง เมื่อวงจรเกิดบกพร่อง เช่น ทรานซิสเตอร์เอาท์พุทซ็อตไฟ ตรงหลายสิบโวลท์จะเข้าทำลายลำโพงทันที ดังนั้นเพื่อป้อง กันลำโพงราคาแพงจึงจำเป็นจะต้องมีวงจรนี้.....
fk650s.gif
วงจรป้องกันลำโพง เป็นวงจรที่นำไปต่อกับเครื่องขยาย เสียงระบบ
OCL ถ้าเครื่องขยายที่ไม่มีวงจรป้องกันลำโพง เมื่อวงจรเกิดบกพร่อง เช่น ทรานซิสเตอร์เอาท์พุทซ็อตไฟ ตรงหลายสิบโวลท์จะเข้าทำลายลำโพงทันที ดังนั้นเพื่อป้อง กันลำโพงราคาแพงจึงจำเป็นจะต้องมีวงจรนี้.....
fk650s.gif
คลิ๊กดูภาพใหญ่

วงจรป้องกันลำโพง เป็นวงจรที่นำไปต่อกับเครื่องขยาย เสียงระบบ
OCL ถ้าเครื่องขยายที่ไม่มีวงจรป้องกันลำโพง เมื่อวงจรเกิดบกพร่อง เช่น ทรานซิสเตอร์เอาท์พุทซ็อตไฟ ตรงหลายสิบโวลท์จะเข้าทำลายลำโพงทันที ดังนั้นเพื่อป้อง กันลำโพงราคาแพงจึงจำเป็นจะต้องมีวงจรนี้
ข้อมูลทางด้านเทคนิค:
- ใช้แหล่งจ่ายไฟขนาด 12 โวลท์ดีซี
fk650s.gif
คลิ๊กดูภาพใหญ่

วงจรป้องกันลำโพง เป็นวงจรที่นำไปต่อกับเครื่องขยาย เสียงระบบ
OCL ถ้าเครื่องขยายที่ไม่มีวงจรป้องกันลำโพง เมื่อวงจรเกิดบกพร่อง เช่น ทรานซิสเตอร์เอาท์พุทซ็อตไฟ ตรงหลายสิบโวลท์จะเข้าทำลายลำโพงทันที ดังนั้นเพื่อป้อง กันลำโพงราคาแพงจึงจำเป็นจะต้องมีวงจรนี้
ข้อมูลทางด้านเทคนิค:
- ใช้แหล่งจ่ายไฟขนาด 12 โวลท์ดีซี

การต่อลำโพงแบบต่างๆ

การต่อลำโพง (เบื้องต้น)

ก็ต่อง่ายๆเหมือนต่อตัวต้านทาน มี 3 วิธีคือ

1. ต่อแบบอนุกรม R= R1+R2 ดังรูป FIG.1 ถ้ามากกว่า 2ตัวก็บวกไปเรื่อย

2.ต่อแบบขนาน 1/R=(1/R1)+(1/R2) ดังรูป FIG.2ถ้ามากกว่า2ตัวก็บวกไปเรื่อยๆ

3.ต่อแบบผสม ขนาน-อนุกรม ดังรูป FIG.3 หาค่ารวมแบบขนาน แล้วมารวมกันแบบอนุกรม
       ในรูปสมมุติเรามีลำโพงตัวละ 8 โอห์ม ต่ออนุกรมกัน2ตัวก็ได้ 16โอห์ม ต่อขนานกัน 2 ตัวก็ได้ 4โอห์ม ต่อผสมกันก็ได้ 8 โอห์ม และถ้าต้องการ 2โอห์มก็ต้องใช้ 4 ตัวต่อขนานกัน
หากใช้ลำโพงตัวละ 4โอห์ม ผลรวมก็จะต่างออกไปตามสูตร สำคัญต้องระวังเรื่องขั้ว ต่อให้ถูกต้อง หากสลับกันจะกลับเฟส เกิดการหักล้างกัน สังเกตได้ง่ายที่ความถี่ต่ำๆเสียงเบสจะหาย ส่วนกำลังวัตต์จะเท่ากับวัตต์ของลำโพงทุกตัวรวมกัน ไม่ว่าจะต่อแบบไหนก็ตาม

โครงสร้างของลำโพง

Loudspeaker (ลำโพง) ลำโพงเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าเชิงกลชนิดหนึ่ง ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นเสียง ลำโพงมักจะถูกเรียกรวมๆกัน ทั้งดอกลำโพง หรือตัวขับ (driver) และลำโพงทั้งตู้ (speaker system) ที่จะประกอบด้วยลำโพงและ วงจรครอสโอเวอร์เน็ตเวิร์กสำหรับแบ่งย่านความถี่เสียง ในปัจจุบันถือได้ว่า ลำโพงได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งในการทำงานและในชีวิตประจำวันของคนเราไปแล้ว การเลือกลำโพงที่ถูกใจสักคู่นึงไว้ใช้งานั้นถือว่าเป็นเรื่องที่มีความสำคัญมากเหมือนกัน ดังนั้นเราต้องศึกษาถึงรายละเอียดของลำโพงให้ดีก่อนที่จะเสียเงินและ ทำให้คุณได้ลำโพงที่เหมาะสมกับการใช้งานของคุณมากที่สุด
e0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8aae0b8a3e0b989e0b8b2e0b887e0b8a5e0b8b3e0b982e0b89ee0b887
โครงสร้างของลำโพง
bookshelf-speakers-l
ตัวอย่างลำโพงวางหิ้ง
stand-speaker
ตัวอย่างขาตั้งลำโพงแบบวางหิ้ง
e0b8a5e0b8b3e0b982e0b89ee0b887-tower1
ตัวอย่างลำโพง towe